![]() |
Digital Photography Audio & Video Computer Accessories Software Applications Miscellaneous | Home |
.... |
อุปกรณ์ยึดสายเคเบิ้ล |
ในการประดิษฐ์ ประกอบอุปกรณ์ DIY
หรือการเดินสายไฟฟ้าเข้าตู้หรือเข้า-ออกจากกล่องต่อสาย
ที่เป็นกล่องพลาสติกหรือกล่องโลหะนั้น
เรามักจะใช้อุปกรณ์ยึดสายเพื่อปกป้องสายไฟ ป้องกันการดึงสาย
ป้องกันน้ำเข้าตู้ทางสายไฟ รวมทั้งป้องกันขอบตู้บาดฉนวนของสายไฟ ซึ่งอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันคือ Cable Gland ทำด้วยพลาสติกไนล่อน ตามรูปที่
1
มีขนาดต่างๆให้เลือกใช้เพื่อให้เหมาะกับขนาดของสายเคเบิ้ลกลม
การเลือกขนาดของ
Cable Gland สรุปสั้นๆได้ดังนี้ |
||
![]() รูปที่ 1 Cable Gland ขนาด PG7 และ PG9 |
||
![]() รูปที่ 2 Cable Gland กับสาย VCT ขนาดใหญ่สุดที่ใช้ได้ |
||
![]() รูปที่ 3 Cable Gland แบบ Anti-Bending |
||
Silicone Rubber
Grommets |
||
![]() รูปที่ 4 Silicone Rubber Grommets Protective Sleeves |
||
![]() รูปที่ 5 Rubber Grommets Protective Sleeves กับอุปกรณ์ไฟฟ้า ![]() รูปที่ 6 การใช้ Silicone Rubber Grommets Protective Sleeves ต่อยึดสายเคเบิ้ลกับกล่องพลาสติก |
||
ตัวอย่างการใช้งาน Cable Gland |
||
![]() รูปที่ 7 การต่อ Cable Gland เข้ากับกล่องพลาสติก |
||
![]() รูปที่ 8 การใช้ Cable Gland กับกล่องอุปกรณ์ Energy Meter |
||
![]() |
||
รูปที่ 9
การใช้ Cable Gland
กับกล่องอุปกรณ์ |
||
![]() รูปที่ 10 การใช้ Cable Gland กับชุด รางปลั๊กไฟติด Energy Meter |
||
บทความหรือข้อมูลอื่นๆที่น่าสนใจ
(Other
Interesting Informations) : 1. How to Use Cable Glands on Electronics Projects .... (YouTube) 2. How to Make an Entrance .... (YouTube) |
||
หมายเหตุ : บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อแบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์ในการใช้งานอุปกรณ์ Cable Gland และ Rubber Grommets ผู้เขียนไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีผลประโยชน์กับการโฆษณาหรือการขายอุปกรณ์ต่างๆที่แสดงไว้ |
จากวันที่ 15 ก.ย.
2564
ปรับปรุงล่าสุด : 18 ก.ย.
2564