|
รูปที่ 1 เครื่องปรับอากาศขนาด 18,000 บีทียู ติด AirconMiser |
รูปที่ 2 AirconMiser เปิดให้เห็นภายในตัวเครื่อง |
รูปที่ 3 AirconMiser แสดง Sensor |
รูปที่ 4 การติด Sensor ที่เครื่องปรับอากาศ |
รูปที่ 5 DIP Switch ภายในเครื่อง
AirconMiser |
|
|
|
หลักการทำงาน
อ่านรายละเอียดที่นี่
วิดีโอแสดงภายในเครื่อง
และ การติดตั้ง
ดูวิดีโอที่ Post ขึ้น YouTube (22 ม.ค. 2554)
การติดตั้ง AirconMiser
การติดตั้งควรทำโดยช่างแอร์ที่มีความชำนาญ
ถ้าเครื่องปรับอากาศ มี PCB
(Printed Circuit Board) การต่อสายวงจรกับ AirconMiser ก็จะทำได้ง่าย
และรวดเร็ว ใช้เวลาในการติดตั้งประมาณ 20 - 30 นาที
แต่ถ้าเครื่องปรับอากาศ ไม่มี PCB การติดตั้ง
ก็ทำได้เช่นกัน เพียงแต่อาจจะใช้เวลาประมาณ 40 นาที การติดตั้งทำได้ง่าย
โดยไม่ต้องเดินสายไฟฟ้าเพิ่ม
และเนื่องจากเครื่อง AirconMiser มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา จึงติดตั้งที่ผนังข้างๆเครื่องปรับอากาศได้อย่างสวยงาม และไม่ต้องเจาะฝาผนัง
(ดูรูปที่ 1)
การตั้งอุณหภูมิ
ภายในตัว AirconMiser
มี DIP Switch (ดูรูปที่ 5)
ให้เลือกตั้งอุณหภูมิเปิดการทำงานคอมเพรสเซอร์ 4
ขั้น
คือ
ขั้นที่
1 อุณหภูมิห้อง
18 องศาซี สำหรับห้องคอมพิวเตอร์
IT (เปิดคอมเพรสเซอร์
ที่ 16 C)
ขั้นที่
2 อุณหภูมิห้อง
22 องศาซี สำหรับห้องทั่วไปที่ต้องการ
22 C (เปิดคอมเพรสเซอร์
ที่ 20 C)
ขั้นที่ 3
อุณหภูมิห้อง
24 องศาซี
สำหรับห้องทั่วไปที่ต้องการ 24 C (เปิดคอมเพรสเซอร์
ที่ 22 C)
ขั้นที่
4 อุณหภูมิห้อง
26 องศาซี สำหรับห้องทั่วไปที่ต้องการอุณหภูมิ
26 C หรือที่หน่วยงานของรัฐบังคับ (เปิดคอมเพรสเซอร์
ที่ 24 C) ปกติจุดเปิดคอมเพรสเซอร์ให้กลับมาทำงานใหม่
ควรต้องต่ำกว่าอุณหภูมิที่ต้องการประมาณ
2 องศาซี
ทดสอบการใช้งาน
บริษัทผู้จัดจำหน่ายและสถาบันต่างๆ
ได้ทำการทดสอบการใช้งานของ AirconMiser
ติดตั้งกับเครื่องปรับอากาศขนาดต่างๆ
พบว่า
สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้
30 - 42% ซึ่ง
ตัวอย่างผลการทดสอบ
ดูได้จาก Link
นี้
การทดสอบการใช้งานสำหรับเครื่องปรับอากาศ
ขนาด 18,000 Btu/h ที่ใช้ในห้องทำงาน
ผู้เขียนได้ทดสอบเพิ่มเติมในลักษณะที่แตกต่างออกไป
โดยการเลือกตั้งอุณหภูมิเปิดการทำงานของคอมเพรสเซอร์ โดยตั้ง DIP Switch
ไว้ที่ขั้นที่ 3 เทียบกับขั้นที่
4 ตั้งอุณหภูมิห้องโดยใช้รีโมทของเครื่องปรับอากาศไว้ที่ 25 องศาซี ผลปรากฎว่า
ในการตั้งขั้นที่ 3 เย็นมากหน่อย
แต่คอมเพรสเซอร์จะเดินนานครั้งละ 4 - 5 นาที
แต่ถ้าตั้งขั้นที่ 4 ก็พอเย็น
แต่คอมเพรสเซอร์จะเดินครั้งละประมาณ
3 นาทีเท่านั้น
ก็แสดงให้เห็นว่า
การตั้งอุณหภูมิเปิดการทำงานคอมเพรสเซอร์ขั้นที่
4 ทำให้ยิ่งประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้มากยิ่งขึ้นอีก
แต่จะพึงพอใจแค่ไหน ต้องทดลองดู แต่โดยทั่วไป
ก็มักจะตั้งที่ ขั้นที่ 3 กัน |
|
รูปที่ 6
ภายในเครื่อง AirconMiser ที่ติดตั้ง
ใช้งาน โดยทดลองตั้ง DIP Switch ไว้ที่ขั้นที่
4
|
|
วงจรควบคุมการทำงานเมื่อใช้
AirconMiser
ติดต่อ
สอบถาม
สั่งซื้อและติดตั้ง (Purchasing)
ผู้ที่สนใจติดต่อได้ที่เบอร์โทรศัพท์ข้างล่างนี้
:
( กรุณาแจ้งด้วยว่า
ได้ข้อมูลมาจากเว็บไซต์ www.somkiet.com
หรือ
www.thaitambon.com หรือ
www.bangkoksite.com
ท่านจะได้รับส่วนลดพิเศษจากทางบริษัท AML Energy )
บริษัท
AML Energy Co.
Ltd.
725 เมืองทอง
2/2 ถนนพัฒนาการ 61
กรุงเทพ 10250
โทร.
081 667 4343, 081
573 7116, 02 321 5805
โทรสาร 02 321 5907
E-mail :
tnopubol@amlenergy.co.th
Web Site :
www.amlenergy.co.th
.................................................................................................................................
หมายเหตุ :
DIP Switch ย่อมาจาก Dual In-line Package
Switch เป็นสวิทช์ขนาดเล็กมาก
ที่ใช้สำหรับปิด เปิด
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ เช่น
ใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องพิมพ์
|